วันมาฆบูชา - An Overview

- ผู้ทำสัตว์อื่นให้ลำบากอยู่ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย

จัดบอร์ดหรือจัดนิทรรศการตามโรงเรียน หรือหน่วยงานราชการต่างๆ เพื่อเผยแพร่วันสำคัญทางพุทธศาสนา ซึ่งจะมีการบอกถึงที่มา ประวัติของวันมาฆบูชา และประวัติของพระพุทธเจ้า และหลักคำสอนต่างๆ เพื่อเป็นความรู้และการส่งเสริมสิ่งดีๆ ให้กับเยาวชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เกิดความสำนึกถึงหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า ทำความดีละเว้นความชั่ว

พุทธศาสนิกชน ถือเอาวันสำคัญทางศาสนา ทำจิตใจให้ผ่องใส ทำความดี ละเว้นความชั่ว

ขอบคุณข้อมูลจาก สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

เกี่ยวกับเรา นโยบายความเป็นส่วนตัว นโยบายคุกกี้

การดำเนินรอยตามพระพุทธศาสนาด้วยการทำบุญ และยึดมั่นทำความดี รวมถึงเข้าใจในหลักสอนของคำสอนพระพุทธเจ้า จะทำให้ สามารถเข้าถึงหลักธรรมต่างๆ และเข้าใจถึงความสำคัญของวันมาฆบูชา ซึ่งจะทำให้เกิดความเลื่อมใสต่อความสำคัญของพระพุทธศาสนาและอยากที่จะรักษาและปฏิบัติหน้าที่ในฐานะชาวพุทธ เพื่อเป็นการช่วยธำรงพระพุทธศาสนาให้สืบต่อไป

๒. ไปวัดเพื่อปฏิบัติธรรม และฟังพระธรรมเทศนา

(หันทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส)

เคล็ดวิธีรับมือ เมื่อมนุษย์เงินเดือน "ถูกเลิกจ้าง-ตกงาน" กะทันหัน

กรมอนามัย แนะ มาฆบูชา ตักบาตรด้วย ‘เมนูชูสุขภาพ’ หรือ ‘ทำบุญออนไลน์’ ทางเลือกคนไม่สะดวกไปวัด

บทสรรเสริญพระพุทธคุณ สวดทำนองสรภัญญะ วันมาฆบูชา (บทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วย:องค์ใดพระสัมพุทธ ฯลฯ)

เดิมวัดเวฬุวันเป็นพระราชอุทยาน สำหรับเสด็จพระพาสของพระเจ้าพิมพิสาร เป็นสวนป่าไผ่ร่มรื่นมีรั้วรอบและกำแพงเข้าออก เวฬุวันมีอีกชื่อหนึ่งปรากฏในพระสูตรว่า "พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน"หรือ "เวฬุวันกลันทกนิวาป" (สวนป่าไผ่สถานที่สำหรับให้เหยื่อแก่กระแต) พระเจ้าพิมพิสารได้ถวายพระราชอุทยานแห่งนี้เป็นวัดในพระพุทธศาสนาหลังจากได้ สดับพระธรรมเทศนาอนุปุพพิกถาและจตุราริยสัจจ์ ณ พระราชอุทยานลัฏฐิวัน (พระราชอุทยานสวนตาลหนุ่ม) โดยในครั้งนั้นพระองค์ได้บรรลุพระโสดาบัน เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา และหลังจากการถวายกลันทกนิวาปสถานไม่นาน อารามแห่งนี้ก็ได้ใช้เป็นสถานที่สำหรับพระสงฆ์ประชุมจาตุรงคสันนิบาตครั้ง ใหญ่ในพระพุทธศาสนา อันเป็นเหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา

หลังพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน วัดเวฬุวันได้รับการดูแลมาตลอด โดยเฉพาะมูลคันธกุฎีที่มีพระสงฆ์เฝ้าดูแลทำการปัดกวาดเช็ดถูปูลาดอาสนะและ ปฏิบัติต่อสถานที่ ๆ พระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ทุก ๆ แห่ง เหมือนสมัยที่พระพุทธองค์ทรงพระชนมชีพอยู่มิได้ขาด โดยมีการปฏิบัติเช่นนี้ติดต่อกันกว่าพันปี

• "สมาธิ การวัดใจ" (หลวงปู่ฝั้น อาจาโร)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *